Undang-Undang Epidemi Hewan
Bhumibol Adulyadej, Rex. Diberikan pada tanggal 28 September BE 2499 menjadi tahun kesebelas pemerintahan saat ini. Yang Mulia Raja Bhumibol Adulyadej Yang Mulia dengan senang hati menyatakan bahwa Mengingat adalah bijaksana untuk memiliki undang-undang tentang wabah hewan; Oleh karena itu Yang Mulia Raja dengan murah hati mengesahkan Undang-undang ini, dengan saran dan persetujuan Dewan Perwakilan Rakyat, sebagai berikut:
Bagian 1. Undang-undang ini disebut "Undang-Undang Epidemi Hewan, B.E. 2499"
Bagian 2* Undang-undang ini mulai berlaku setelah sembilan puluh hari sejak tanggal penerbitannya dalam Lembaran Negara*[Ror.2499/78/1063/2 Oktober 1956].
Bagian 3 dicabut
(1) Tindakan Epidemi Ternak dan Binatang Buas, B.E. 2474
(2) Tindakan Epidemi Hewan dan Hewan Beban. Amandemen 2478 SM dan
(3) Tindakan Epidemi Ternak dan Binatang Buas (No. 3), B.E. 2497
Daftar Akun Poker P2Play Di mana ada undang-undang, aturan atau peraturan lain bertentangan atau bertentangan dengan ketentuan undang-undang ini akan menerapkan Undang-undang ini sebagai gantinya.
Bagian 4 Dalam Undang-Undang ini
"binatang" berarti
*(1) Gajah, kuda, sapi, kerbau, keledai, bagal, kambing, domba, babi, anjing, kucing, kelinci, owa, dan termasuk mani yang digunakan untuk berkembang biak dan embrio (embrio hewan yang belum mencapai tahap perkembangan organ lengkap) dari hewan-hewan ini
(2) unggas seperti burung, ayam, itik, angsa, dan termasuk telur yang digunakan untuk pembibitan; dan
(3) jenis hewan lainnya sebagaimana diatur dalam Peraturan Menteri.
*[(1) dari definisi ini Diubah dengan Undang-undang (No. 2), B.E. 2542]
Daftar Baccarat online "Banker" berarti tubuh atau bagian tubuh dari hewan yang mati. dan belum diubah menjadi makanan yang dimasak atau penemuan akhir dan juga termasuk gading, tanduk, dan bulu yang telah dipotong dari binatang itu selama masih hidup dan belum diubah menjadi penemuan jadi.
"penyakit epidemik" berarti penyakit Rinderpest Septikemia hemoragik, antraks, serra, stomatitis, keracunan, penyakit kaki dan mulut Demam Babi dan penyakit lainnya yang diatur dalam Peraturan Menteri
"Pemilik" termasuk pemilik. Dalam kasus hewan ketika pemiliknya tidak teridentifikasi Itu juga harus mencakup penggalang dan penanggung jawab.
"Pelabuhan masuk" berarti tempat untuk membawa hewan dan bangkai ke Kerajaan.
"pelabuhan" berarti tempat untuk mengeluarkan hewan dan bangkai dari Kerajaan;
"stasiun karantina hewan" adalah tempat karantina hewan atau bangkai untuk pemeriksaan wabah;
“Perdagangan” berarti perdagangan dalam bentuk perantara.
Yang dimaksud dengan "pejabat yang berwenang" adalah orang yang ditunjuk oleh Menteri.
Yang dimaksud dengan “inspektur” adalah inspektur dari Departemen Pembinaan Peternakan. atau orang yang ditunjuk oleh Direktur Jenderal
Panitera adalah orang yang ditunjuk oleh Menteri sebagai Panitera.
“Dokter Hewan” berarti dokter hewan dari Departemen Pembinaan Peternakan. atau orang yang ditunjuk oleh Menteri
"Direktur Jenderal" berarti Direktur Jenderal Departemen Bina Peternakan.
"Menteri" adalah Menteri yang bertugas dan mengendalikan pelaksanaan Undang-Undang ini.
Daftar Akun Rolet Bagian 5 Undang-undang ini tidak berlaku dalam kaitannya dengan hewan milik Kementerian Pertahanan. dan instansi pemerintah lainnya sebagaimana diatur dalam Peraturan Menteri.
Bagian 6 Untuk anjing, kucing, kelinci, monyet, owa, termasuk mani yang digunakan untuk pengembangbiakan hewan tersebut. Dan unggas seperti burung, ayam, itik, angsa, termasuk telur untuk dikembangbiakkan. Undang-undang ini hanya berlaku untuk impor, ekspor, atau transit melalui Kerajaan. atau sesuatu yang lain seperti yang ditentukan oleh Keputusan Kerajaan
Bagian 7 Menteri Pertanian bertugas dan mengawasi pelaksanaan Undang-undang ini. dan berwenang mengangkat pejabat, panitera dan dokter hewan yang berkompeten, serta mengeluarkan peraturan menteri yang mengatur tata cara permohonan dan pemberian izin. Biaya tidak melebihi tarif yang dilampirkan pada Undang-Undang ini. atau membebaskan biaya dalam kasus tertentu dan jadwal lain untuk pelaksanaan Undang-undang ini.
peraturan menteri itu Setelah diumumkan dalam Lembaran Negara, itu akan mulai berlaku.
Kategori 1
Daftar SicBo Dadu Online Bagian 8 Di daerah yang belum dinyatakan sebagai zona bebas wabah menurut Bab 2 atau di daerah yang belum dinyatakan sebagai daerah wabah daerah yang diduga mengalami wabah atau daerah epidemi sementara di bawah Bab 3. atau ada hewan yang sakit atau mati saat ini yang tidak dapat ditentukan mengapa sakit atau mati, atau di desa yang sama atau di sekitar tempat dua atau lebih hewan sakit atau mati memiliki gejala yang sama tidak lebih dari tujuh hari terpisah Pemilik harus memberi tahu inspektur yang kompeten. atau dokter hewan setempat dalam waktu dua puluh empat jam sejak hewan sakit atau mati.
Dalam hal hewan sakit seperti pada paragraf sebelumnya Pemilik harus mengendalikan semua hewan yang sakit di dalam area tempat hewan tersebut berada. Dan pemilik atau orang lain dilarang memindahkan hewan yang sakit dari tempat itu. Dalam hal hewan mati berdasarkan paragraf sebelumnya Pemilik harus mengontrol bangkai untuk tetap berada di tempat hewan mati. Dan pemilik atau orang lain dilarang memindahkan, membedah atau melakukan apapun terhadap bangkai tersebut. Jika petugas polisi atau dokter hewan tidak dapat datang dan memeriksa bangkai dalam waktu empat puluh delapan jam sejak hewan tersebut mati. Pemilik harus mengubur bangkai tidak kurang dari lima puluh sentimeter di bawah permukaan tanah. Untuk bangkai hewan besar, tanah juga harus ditimbun hingga menutupi lubang minimal lima puluh sentimeter di atas permukaan tanah.
Bagian 9 Ketika pemberitahuan telah dibuat berdasarkan bagian 8 atau terdapat alasan yang masuk akal untuk menduga bahwa seekor hewan sakit atau mati karena wabah kepada yang kompeten atau inspektur memiliki kuasa untuk mengeluarkan perintah tertulis yang mewajibkan pemilik untuk mengelola hal-hal berikut:
(1) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยไว้ภายในเขตและตามวิธีการที่กำหนดให้
(2) ให้ฝัง หรือเผาซากสัตว์นั้น ณ ที่ที่กำหนดให้ ถ้าการฝังหรือเผาไม่อาจทำได้ให้สั่งทำลายโดยวิธีอื่นตามที่เห็นสมควร หรือ
(3) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ที่อยู่ร่วมฝูง หรือเคยอยู่ร่วมฝูงกับสัตว์ที่ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยหรือตายไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้
มาตรา 10 เมื่อได้มีการแจ้งตามมาตรา 8 หรือตรวจพบ หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าสัตว์ป่วยหรือตายโดยโรคระบาด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจเข้าตรวจสัตว์หรือซากสัตว์นั้น และให้มีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของจัดการดังต่อไปนี้
(1) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้ หรือให้ได้รับการรักษาตามที่เห็นสมควร
(2) ให้ฝัง หรือเผาซากสัตว์นั้นทั้งหมด หรือแต่บางส่วน ณ ที่ที่กำหนดให้ ถ้าการฝังหรือเผาไม่อาจทำได้ ก็ให้ทำลายโดยวิธีอื่นตามที่เห็นสมควร
(3) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ที่อยู่ร่วมฝูง หรือเคยอยู่ร่วมฝูงกับสัตว์ที่ป่วย หรือสงสัยว่าป่วย หรือตาย ไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้ หรือให้ได้รับการป้องกันโรคระบาดตามที่เห็นสมควร
(4) ให้ทำลายสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือสัตว์ หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด ตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ในการนี้ให้เจ้าของได้รับค่าชดใช้ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงไม่ต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของราคาสัตว์ซึ่งอาจขายได้ในตลาดท้องที่ก่อนเกิดโรคระบาดเว้นแต่ในกรณีที่เจ้าของได้จงใจกระทำความผิดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้
(5) ให้กำจัดเชื้อโรคที่อาหารสัตว์ หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด ตามวิธีการที่กำหนดให้ หรือ
(6) ให้ทำความสะอาด และทำลายเชื้อโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาดในที่ดิน อาคาร ยานพาหนะ หรือสิ่งของ ตามวิธีการที่กำหนดให้
หมวด 2
มาตรา 11 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรเพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคระบาดสำหรับสัตว์ชนิดใดในท้องที่ใด ก็ให้มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดท้องที่นั้นทั้งหมด หรือแต่บางส่วนเป็นเขตปลอดโรคระบาด ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย
มาตรา 12 เมื่อได้ประกาศเขตปลอดโรคระบาดตามมาตรา 11 แล้วห้ามมิให้ผู้ใดเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์เข้าใน หรือผ่านเขตนั้น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดีหรือสัตวแพทย์ซึ่งอธิบดีมอบหมาย
มาตรา 13 ภายในเขตปลอดโรคระบาด ให้เจ้าของสัตว์มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่และสารวัตรมีอำนาจตามมาตรา 9 และให้สัตวแพทย์มีอำนาจตามมาตรา 10 และมาตรา 18
มาตรา 14 ภายในเขตปลอดโรคระบาด ถ้าปรากฏว่ามีโรคระบาดหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือสัตวแพทย์จะประกาศเขตโรคระบาด เขตสงสัยว่ามีโรคระบาดหรือเขตโรคระบาดชั่วคราว แล้วแต่กรณี ตามหมวด 3 ก็ได้
หมวด 3
มาตรา 15 ในเขตท้องที่จังหวัดใด มี หรือสงสัยว่ามีโรคระบาดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดนั้น มีอำนาจประกาศกำหนดเขตท้องที่จังหวัดนั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วน เป็นเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด แล้วแต่กรณี ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย และให้ปิดไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ บ้านกำนัน บ้านผู้ใหญ่บ้าน และที่ชุมนุมชนภายในเขตนั้น
มาตรา 16 ในกรณีที่สัตวแพทย์เห็นว่า โรคระบาดที่ตรวจพบในท้องที่ของตนหรือท้องที่อื่น ที่ติดต่อกับท้องที่ของตนจะระบาดออกไป ให้สัตวแพทย์มีอำนาจประกาศเป็นหนังสือกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราว มีรัศมีไม่เกินห้ากิโลเมตรจากที่ที่ตรวจพบโรคระบาดนั้นประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย และให้ปิดไว้ ณ บ้านกำนัน บ้านผู้ใหญ่บ้านและที่ชุมนุมชนภายในเขตนั้น และให้ใช้บังคับได้สามสิบวันนับแต่วันประกาศ
มาตรา 17 เมื่อได้มีประกาศกำหนดเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือประกาศกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 แล้ว ห้ามมิให้ผู้ใดเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือซากสัตว์ภายในเขตนั้น หรือเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือซากสัตว์ เข้าในหรือออกนอกเขตนั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากสัตวแพทย์
มาตรา 18 ภายในเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 ให้สัตวแพทย์มีอำนาจตามมาตรา 10 และให้มีอำนาจดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ
(1) ออกประกาศหรือสั่งเป็นหนังสือให้บรรดาเจ้าของแจ้งจำนวนสัตว์บางชนิดและถ้าเห็นสมควรจะให้นำสัตว์นั้นมาให้ได้รับการตรวจ หรือป้องกันโรคระบาด ก็ได้
(2) สั่งให้เจ้าของสัตว์ที่ได้ผ่านการตรวจ หรือป้องกันโรคระบาดแล้วนำสัตว์นั้นมาประทับเครื่องหมายที่ตัวสัตว์ หรือ
(3) สั่งกักยานพาหนะที่บรรทุกสัตว์หรือซากสัตว์เพื่อตรวจโรคระบาด และถ้าเห็นสมควรจะสั่งกักสัตว์หรือซากสัตว์นั้นเพื่อคุมไว้สังเกตตามความจำเป็นก็ได้
มาตรา 19 ภายในเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 ถ้ามีสัตว์ป่วยหรือตาย ให้เจ้าของแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สารวัตร หรือสัตวแพทย์ ภายในเวลาสิบสองชั่วโมงนับแต่เวลาที่สัตว์ป่วยหรือตาย และให้นำความในมาตรา 8 วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา 20 ในเขตท้องที่จังหวัดใด ซึ่งได้ประกาศเป็นเขตโรคระบาดหรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด ถ้าปรากฏว่าโรคระบาดนั้นได้สงบลงหรือปรากฏว่าไม่มีโรคระบาดโดยเด็ดขาด แล้วแต่กรณี ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดถอนประกาศเช่นว่านั้นเสีย
หมวด 4
การควบคุมการค้าสัตว์และซากสัตว์
มาตรา 21 ห้ามมิให้บุคคลใดทำการค้า ช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกรหรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หรือทำการค้าซากสัตว์ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงเว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน
มาตรา 21 ทวิ* ห้ามมิให้บุคคลใดขาย จำหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน หรือมีไว้เพื่อขายซึ่งน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์หรือเอ็มบริโอของม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน
การขออนุญาตและการอนุญาต ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
*[มาตรา 21 ทวิ เพิ่มความโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 22* ใบอนุญาตตามมาตรา 21 หรือมาตรา 21 ทวิ ให้ใช้ได้จนถึงวันสิ้นปีปฏิทินแห่งปีที่ออก
*[มาตรา 22 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 23 ผู้ทำการค้าสัตว์หรือซากสัตว์ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
มาตรา 24* ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 21 หรือมาตรา 21 ทวิ ฝ่าฝืนต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตให้สัตวแพทย์มีอำนาจยึดใบอนุญาตของผู้นั้นไว้เพื่อเสนอนายทะเบียน ถ้านายทะเบียนเห็นสมควรจะสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตนั้นเสียก็ได้
ผู้ถูกยึด พักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีหรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมายภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ถูกยึด พักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาตแล้วแต่กรณี
คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีหรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมายให้เป็นที่สุด
*[มาตรา 24 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
หมวด 5
มาตรา 25 ถ้ามีสัตว์ที่ไม่ปรากฏเจ้าของ ป่วย หรือตายในที่ดินของบุคคลใด ให้เจ้าของที่ดินนั้นมีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้เช่นเดียวกับเจ้าของสัตว์นั้น และเมื่อปรากฏเจ้าของสัตว์ในภายหลังเจ้าของที่ดินมีสิทธิเรียกร้องค่าใช้จ่ายเท่าที่จ่ายจริงจากเจ้าของสัตว์ได้
มาตรา 26 ถ้ามีสัตว์ที่ไม่ปรากฏเจ้าของ ป่วยหรือตายโดยโรคระบาดในที่สาธารณะหรือที่ดินไม่ปรากฏเจ้าของ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สารวัตร หรือสัตวแพทย์มีอำนาจกักสัตว์หรือซากสัตว์นั้นไว้ ณ ที่ที่เห็นสมควรภายในบริเวณที่นั้นได้ สำหรับซากสัตว์นั้นเมื่อเห็นสมควรจะฝังเสียก็ได้ ในกรณีจำเป็นเพื่อป้องกันมิให้โรคระบาดแพร่หลาย สัตวแพทย์จะทำลายสัตว์หรือซากสัตว์ หรือฝังซากสัตว์นั้นภายในบริเวณที่นั้นก็ได้เมื่อปรากฏเจ้าของในภายหลัง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ สารวัตรหรือสัตวแพทย์มีสิทธิเรียกร้องค่าใช้จ่ายเท่าที่จ่ายจริงจากเจ้าของสัตว์ได้
มาตรา 27* สำหรับสัตว์ที่เจ้าของนำไปมา หรือขนส่งโดยยานพาหนะ หากปรากฏว่าเป็นโรคระบาดหรือเป็นพาหะของโรคระบาด หรือมีเหตุอันควร สงสัยว่าเป็นโรคระบาดหรือเป็นพาหะของโรคระบาด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจสั่งกักสัตว์นั้นไว้ ณ ที่ที่เห็นสมควรตามความจำเป็นได้ค่าใช้จ่ายในการนี้ให้เจ้าของสัตว์เป็นผู้ออก
*[มาตรา 27 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 28 ห้ามมิให้บุคคลใดขุดซากสัตว์ที่ฝังไว้แล้วตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากสัตวแพทย์
มาตรา 29 เมื่อปรากฏว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาดในยานพาหนะ อาคาร หรือสถานที่อื่นใดให้สัตวแพทย์มีอำนาจเรียกตรวจยานพาหนะ หรือเข้าไปในอาคาร หรือสถานที่นั้น และให้เจ้าของยานพาหนะ อาคาร หรือสถานที่นั้น ให้ความสะดวกแก่สัตวแพทย์ตามสมควร การเข้าไปในอาคาร หรือสถานที่ตามวรรคก่อน ให้กระทำได้ระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก
มาตรา 30 ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา
(1) กำหนดท่าเข้าและท่าออก
(2) ห้ามการนำเข้า หรือนำผ่านราชอาณาจักรซึ่งสัตว์ หรือซากสัตว์จากท้องที่ภายนอกราชอาณาจักร ในกรณีปรากฏว่า ท้องที่นั้นมีหรือสงสัยว่ามีโรคระบาด และ
(3) วางระเบียบการยึด ทำลาย หรือส่งกลับซึ่งสัตว์ หรือซากสัตว์โดยไม่มีค่าชดใช้ในกรณี
ก. นำเข้า หรือนำผ่านราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้หรือ
ข. นำเข้า หรือนำผ่านราชอาณาจักรโดยถูกต้องตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้เมื่อสัตว์นั้นเป็นโรคระบาด หรือสัตว์ หรือซากสัตว์นั้นเป็นพาหะของโรคระบาดในขณะนั้น หรือภายหลังนำเข้า หรือนำผ่านราชอาณาจักร
มาตรา 31 ห้ามมิให้บุคคลใดนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย
อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย จะกำหนดเงื่อนไขตามที่เห็นสมควรไว้ในใบอนุญาตก็ได้
การนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ตามมาตรานี้ให้นำเข้า นำออก หรือนำผ่าน ท่าเข้าหรือท่าออก แล้วแต่กรณี เว้นแต่อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย จะสั่งเป็นอย่างอื่น
มาตรา 32 ผู้ใดนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 33* ให้อธิบดีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา
(1) แต่งตั้งสารวัตรเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
(2) กำหนดด่านกักสัตว์และสถานีขนส่งสัตว์
(3) วางระเบียบการทำลายสัตว์ที่เป็นโรคระบาด หรือการทำลายสัตว์หรือซากสัตว์ที่เป็นพาหะของโรคระบาด และ
(4) วางระเบียบการตรวจโรคและทำลายเชื้อโรคจากสัตว์หรือซากสัตว์ที่มีการนำเข้า นำออกหรือนำผ่านราชอาณาจักร หรือเคลื่อนย้ายภายในราชอาณาจักร
*[มาตรา 33 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 34* ผู้ใดนำช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์หรือเอ็มบริโอเหล่านี้ หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวงหรือซากสัตว์ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ไปยังท้องที่ต่างจังหวัด ต้องได้รับใบอนุญาตจากสัตวแพทย์ประจำท้องที่
ในการออกใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง สัตวแพทย์จะกำหนดเงื่อนไขตามที่จำเป็นไว้ในใบอนุญาตเกี่ยวกับการใช้เส้นทางและยานพาหนะในการนำสัตว์ไปและสถานีขนส่งสัตว์และการผ่านด่านกักสัตว์ ตามระเบียบที่อธิบดีกำหนดก็ได้ เว้นแต่เป็นการนำสัตว์ไปเลี้ยงหรือใช้งานชั่วครั้งคราว
*[มาตรา 34 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 35 ผู้ใดนำสัตว์ผ่านด่านกักสัตว์ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 36 ผู้ใดส่งสัตว์ หรือซากสัตว์ไปจำหน่ายต่างประเทศต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 37 ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บเฉพาะค่าที่พักสัตว์ หรือซากสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ ให้กันไว้เป็นทุนเพื่อใช้จ่ายในการควบคุมการส่งสัตว์หรือซากสัตว์ไปจำหน่ายต่างประเทศ เป็นจำนวนร้อยละห้าสิบของเงินที่เก็บได้ทั้งสิ้น เหลือเท่าใดให้นำส่งเป็นรายได้ของแผ่นดิน
มาตรา 38* ให้สารวัตรมีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้และให้มีอำนาจยึดสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ไว้เพื่อส่งพนักงานสอบสวนดำเนินการต่อไปตามกฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา หรือเพื่อดำเนินการตามมาตรา 51
*[มาตรา 38 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
หมวด 6
มาตรา 39* ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
*[มาตรา 39 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 40* ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 วรรคสองหรือฝ่าฝืนคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือสารวัตร ตามมาตรา 9 หรือฝ่าฝืนมาตรา 19 หรือเจ้าของยานพาหนะ อาคารหรือสถานที่ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกให้แก่สัตวแพทย์ตามสมควร ตามมาตรา 29 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
*[มาตรา 40 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 41* ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งสัตวแพทย์ตามมาตรา 10 หรือมาตรา 18 หรือฝ่าฝืนมาตรา 23 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
*[มาตรา 41 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 42* ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 12 มาตรา 17 มาตรา 21 มาตรา 21 ทวิ หรือมาตรา 28 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
*[มาตรา 42 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 43 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 13
ในกรณีไม่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 39
ในกรณีไม่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 วรรคสอง หรือฝ่าฝืนคำสั่งพนักงานเจ้าหน้าที่หรือสารวัตรตามมาตรา 9 ต้องระวางโทษตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 40
ในกรณีฝ่าฝืนคำสั่งสัตวแททย์ตามมาตรา 10 หรือมาตรา 18 ต้องระวางโทษตามที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 41
มาตรา 44* เจ้าของที่ดินผู้ใดไม่ปฏิบัติการตามหน้าที่ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 25ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
*[มาตรา 44 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
มาตรา 45 *[ยกเลิกโดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]
Bagian 46* Setiap orang yang melanggar pemberitahuan Menteri berdasarkan Bagian 30 (2) diancam dengan pidana penjara paling lama dua tahun. atau denda tidak melebihi empat puluh ribu baht atau keduanya
*[Bagian 46 sebagaimana diubah oleh Undang-Undang (No. 2), BE 2542]
Bagian 47* Setiap orang yang melanggar Bagian 31 paragraf satu atau paragraf tiga atau melanggar ketentuan yang ditetapkan dalam lisensi berdasarkan bagian 31 paragraf dua